อาการนอนไม่หลับ อาการยอดฮิตที่ใครหลายๆ คนประสบพบเจอ แต่รู้หรือไม่หากเราอดนอนหรือมีภาวะนอนไม่หลับเป็นเวลานานอาจส่งผลเสียที่ร้ายแรงต่อร่างกายของคุณ มาดูผลเสียของการนอนไม่หลับและการจัดการกับปัญหานอนไม่หลับกันค่ะ
การนอนไม่หลับอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างมากเช่นกัน ต่อไปนี้คือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
อารมณ์แย่และภาวะเครียด การนอนไม่หลับสามารถทำให้คุณรู้สึกวิตกกังวลและเครียดมากขึ้น ซึ่งอาจส่งผลต่ออารมณ์ที่แย่ลง ความเสียหายจิตใจ เศร้าหมองคล้ำ และเป็นภาวะวิตกกังวลเรื้อรังค่ะ
ปัญหาสุขภาพทางกาย... Read more
บล็อก
สำหรับใครที่เป็นออฟฟิศซินโดรม หนึ่งในอาการที่พบกันได้บ่อยนั่นก็คือ อาการปวดหลัง ซึ่งใครที่นั่งหน้าจอเป็นเวลานานๆ หรือยกของหนักมากๆ จะพบกับอาการนี้ได้ แต่สำหรับอาการปวดหลังนี้ถือเป็นอาการที่ค่อนข้างอันตรายเพราะบางครั้งหากไม่ใช่อาการของออฟฟิศซินโดรม มันอาจจะเป็นเกี่ยวกับหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นออฟฟิศซินโดรมหรือหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
อาการออฟฟิศซินโดรม จะเป็นอาการปวดกล้ามเนื้อ และปวดอักเสบของเนื้อเยื่อและเอ็น ซึ่งเกิดจากการที่ร่างกายใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำๆ... Read more
ออฟฟิศซินโดรม เป็น กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด (Myofascial Pain Syndrome) รวมถึงอาการปวดจากการอักเสบของเนื้อเยื่อและเอ็น (Tendinitis) อาการปวด ชา จากปลายประสาทที่ถูกกดทับ ซึ่งมักจะพบกันกับกลุ่มคนที่ทำงานในออฟฟิศ ที่มีพฤติกรรมการใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ำ หรือการใช้งานเป็นเวลานานๆ หรือแม้แต่การนั่งทำงานที่ผิดวิธี จึงเป็นที่มาของชื่อ ออฟฟิศซินโดรม ซึ่งโรคนี้สามารถที่จะรักษาหายได้ การกายภาพบำบัด ก็เป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาที่ดี ซึ่งถ้าปล่อยให้โรคนี้เรื้อรังบอกเลยว่างานยาวแน่ๆ... Read more
หลายคนมักจะมีอาการชาเท้า ซึ่งบางคนก็ไม่รู้สาเหตุว่าอาการชาเท้านี้ มันเกิดขึ้นได้จากอะไรแล้วเราจะมีวิธีรักษาชาเท้าอย่างไรดี วันนี้เราจะมาไขปัญหาเรื่องของอาการชาเท้านี้ให้ทุกคนได้หายสงสัยกัน
อาการชาเท้า เป็นอาการที่ความรู้สึกที่เท้าของเรานั้นลดลง ทั้งการรับความรู้สึกเรื่องของอุณหภูมิ ร้อน เย็น หรือแม้แต่การ เหยียบพื้น ความแข็ง นุ่ม ขรุขระของพื้นผิว รวมไปถึงความรู้สึกในการทรงตัวด้วย
ใครที่มีอาการชาเท้า อย่าได้วางใจไปเพราะหากเกิดอาการนี้... Read more
ยาฉีดสำหรับรักษาไมเกรน เช่น erenumab, fremanezumab, galcanezumab, และ eptinezumab ซึ่งเป็นแอนติบอดีชนิดโมโนโคลนอลที่มุ่งเป้าไปที่โปรตีน CGRP ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดไมเกรน ยาเหล่านี้สามารถลดความถี่ของการเกิดไมเกรนได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยผู้ป่วยบางรายพบว่าความถี่ในการเกิดไมเกรนลดลงได้มากถึง 50% หรือมากกว่านั้น
อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์อาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ระดับความรุนแรงของอาการไมเกรน ความถี่ของการเกิดอาการก่อนเริ่มการรักษา และการตอบสนองของร่างกายต่อยา... Read more